คำศัพท์คอมพิวเตอร์ 50 คำ
1. Computer = คอมพิวเตอร์
2. Software = ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม
3. Hardware = อุปกรณ์เชื่อมต่อภายนอก
4. Input unit = หน่วยรับเข้า
5. Output unit = หน่วยส่งออก
6. Main Memory unit = หน่วยความจำหลัก
7. Secondary memory unit = หน่วยความจำรอง
8. Keyboard = แป้นพิมพ์
9. Word = คำหรือคำศัพท์
10. Ram = เก็บข้อมูลและโปรแกรม
11. Online = การติดต่อ
12. Upload = การโหลดข้อมูล
13. Network = เครือข่าย
14. Fax modem = โมเด็มที่ส่งแฟกซ์ได้
15. Web Site = หน้าต่างของเนต
16. Antivirus Program = โปรแกรมป้องกันไวรัส
17. Computer System = ระบบคอมพิวเตอร์
18. Information System = ระบบขอมูล
19. Computer Network = ระบบเครือข่าย
20. User = ผู้ใช้
21. Account = บัญชีผู้ใช้
22. USB = หน่วยเก็บข้อมูล
23. .net = แสดงเว็บของบริษัท
24. Keyword = รหัสของบางโปรแกรม
25. Multimedia = สื่อประสม
26. Bus = การเชื่อมต่อเครือข่าย
27. Browser = เป็นชื่อใช้เรียกซอฟต์แวร์
28. Bug = ความผิดพลาดของคอม
29. Database = ฐานข้อมูล
30. CD-ROM = ตัวจัดการกับแผ่นต่างๆ
31. Compact Disc = อุปกรณ์ประเภทแผ่น
32. Mouse = เมาส์
33. Light pen = ปากกาแสง
34. Track ball = ลูกกลมควบคุม
35. Joystick = ก้านควบคุม
36. Scanner = เครื่องกราดตรวจ
37. Touch screen = จอสัมผัส
38. Control Unit = หน่วยควบคุม
39. Rom = หน่วยความจำแบบอ่าน
40. Diskette = แผ่นบันทึก
41. Harddisk = ฮาร์ดดิสก์
42. Magnetic Tape = เทปแม่เหล็ก
43. Monitor = จอภาพ
44. Printer = เครื่องพิมพ์
45. Laser printer = เครื่องพิมพ์เลเซอร์
46. Line printer = เครื่องพิมพ์รายบรรทัด
47. Speaker = ลำโพง
48. Microsoft Word = โปรแกรมเวิร์ด
49. Microsoft Excel = โปรแกรมเอกเซล
50. Microsoft PowerPoint = โปรแกรมเพาเวอร์พอยนต์
วันพุธที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ต้องทำอย่างต่อเนื่องหลายขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนจะมีความสำคัญต่อโครงงานนั้น ๆ การแบ่งขั้นตอนของการทำโครงงานอาจแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงานและการวางแผนการทำโครงงานในที่นี้จะบ่งการทำงานออกเป็น 6 ขั้นตอนดังนี้
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจทำ
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัว นักเรียนสามารถจะศึกษาการได้มาของเรื่องที่จะทำโครงงาน การอ่านค้นคว้า การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ การฟังบรรยาย รายการวิทยุโทรทัศน์ สนทนาอภิปราย กิจกรรมการเรียนการสอน งานอดิเรก การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสำคัญดังนี้
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัว นักเรียนสามารถจะศึกษาการได้มาของเรื่องที่จะทำโครงงาน การอ่านค้นคว้า การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ การฟังบรรยาย รายการวิทยุโทรทัศน์ สนทนาอภิปราย กิจกรรมการเรียนการสอน งานอดิเรก การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสำคัญดังนี้
- จะต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
- สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้
- มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคำปรึกษา
- มีเวลาเพียงพอ
- มีงบประมาณเพียงพอ
- มีความปลอดภัย
- สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้
- มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคำปรึกษา
- มีเวลาเพียงพอ
- มีงบประมาณเพียงพอ
- มีความปลอดภัย
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
รวมถึงการขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิช่วยจะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำหนดของเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งความรู้เพิ่มเติมในเรื่งที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำเนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสมในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว นักเรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระสำคัญไว้ด้วย
จะต้องพิจารณาดังนี้ มูลเหตุจูงใจและเป้าหมายในการทำ วัสดุอุปกรณ์ ความต้องการของผู้ใช้งานและคุณลักษณะของผลงาน (Requirement and Specification) วิธีการประเมินผล วิธีการพัฒนา ข้อสรุปของโครงงาน ความแปลกใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ แนวทางในการปรับปรุงหรือขยายการทดลองจากงานเดิม
รวมถึงการขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิช่วยจะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำหนดของเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งความรู้เพิ่มเติมในเรื่งที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำเนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสมในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว นักเรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระสำคัญไว้ด้วย
จะต้องพิจารณาดังนี้ มูลเหตุจูงใจและเป้าหมายในการทำ วัสดุอุปกรณ์ ความต้องการของผู้ใช้งานและคุณลักษณะของผลงาน (Requirement and Specification) วิธีการประเมินผล วิธีการพัฒนา ข้อสรุปของโครงงาน ความแปลกใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ แนวทางในการปรับปรุงหรือขยายการทดลองจากงานเดิม
3. การจัดทำเค้าโครงของโครงงานที่จะทำ จำเป็นต้องกำหนดกรอบแนวคิดและวงแผนการพัฒนาล่วงหน้าเพื่อคาดการณ์ความเป็นไปได้ของโครงงาน ขั้นตอนที่สำคัญคือ ศึกษาค้นคว้าเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูล ออกแบบการพัฒนา เสนอเค้าโครงของโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอคำแนะนำและปรับปรุงแก้ไข
4. การลงมือทำโครงงาน เมื่อเค้าโครงได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการพัฒนาตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ดังนี้ เตรียมการ ลงมือพัฒนา ตรวจสอบผลงานและแกไข อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ แนวทางในการพัฒนาโครงงานในอนาคต
5. การเขียนรายงาน เป็นสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวความคิด วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนควรใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมาให้ครอบคลุมหัวข้อต่าง ๆ
6. การนำเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน เป็นการนำเสนอเพื่อแสดงออกถึงผลิตผลของความคิด ความพยายามในการทำงานที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจในโครงงานนั้น ในการเสนออาจทำได้หลายรูปแบบ เช่น ติดโปสเตอร์ การรายงานตัวในที่ประชุม การแสดงผลงานด้วยสื่อต่าง การจัดนิทรรศการ การอธิบายด้วยคำพูด
วันพุธที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโครงงาน
ชื่อโครงงาน เครื่องปั่นอัจฉริยะ 7 in 1
ผู้จัดทำ 1 นายสุ พรรคกิจ สิ ทธิ ้ ชัน ม.5/1เกิดวันที่ 26 เดือน กันยายน พ.ศ.2539อายุ 16ปี
2 นายเกรียงศักดิ์ อินดี้ ชัน ม.5/1
เกิดวันที่ 16 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2539 อายุ 17 ป
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
น.ส.ขจรศรี สุทธสังข์ ตำแหน่ง ครู คศ.1
น.ส.อรอุมา ไชยชนะ ตำแหน่ง ครู คศ.1
สถาบันการศึกษา โรงเรียนลองวิทยา
โครงงานได้รับรางวัล วันนักประดิษฐ์
ระดับชั้น มัธยมปลาย
หมวดวิชา อื่นๆ
บทคัดย่อ
เครื่องปั่นอัจฉริยะ 7 in 1(Intelligent blender 7 in 1) นี้ เป็นการประดิษฐ์เพื่อลดระยะเวลาในการจัดเตรียมวัตถุดิบในการทำอาหาร เป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีให้กับผู้ร่วมงานและสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพในการสร้างรายได้ให้กับครอบครัว
โดยมีวิธีการประดิษฐ์คือขึ้นโครงสิ่งประดิษฐ์แล้วตั้งฐานแกนด้านบน จากนั้นต่อฐานออกมาจากที่วางรองเท้าทำเป็นที่คั้นกะทิ ทำฐานของแกนไว้ด้านล่างแล้วตั้งเฟืองเครื่องซักผ้าเป็นตัวทดรอบให้ที่ปั่นไฟติดตั้งเครื่องแกะเมล็ดข้าวโพดหัวขูดมะละกอและมะพร้าว ต่อวงจรไฟฟ้าเข้ากับสิ่งประดิษฐ์แล้วเก็บรายละเอียดของสิ่งประดิษฐ์
จากการทดสอบการใช้งานพบว่า เครื่องปั่นอัจฉริยะ 7 in 1 สามารถช่วยลดเวลาในการทำงานเมื่อเปรียบเทียบกับอุปกรณ์ปกติ อีกทั้งยังช่วยสร้างสัมพันธภาพแก่ผู้ร่วมงานได้เป็นอย่างดี ตลอดจนนำไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวได้อีกด้วย
ความเป็นมาในการสร้างสรรค์ผลงาน
อําเภอลองตั้งอยู่ในจังหวัดแพร่ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปตามทางหลวงหมายเลข1023เป็น
ระยะทาง 40 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพหลักได้แก่ การทํานา ทําสวน ทําไร่ และมีอาชีพเสริ มคือ
อาชีพ ค้าขาย สวนส้ม สวนพุทรา ปลูกข้าวโพดและเลี้ยงสัตว์ ประชากรส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือกันดีใน
การทํางานส่ วนรวม และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เวลามีงานตามหมู่บ้าน เช่นงานบวช งานศพ งานแต่งงาน
งานขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น
ในการทํางานดังกล่าวจะต้องมีการเตรียมอาหาร เพื่อเลี้ยงแขกในงาน มีทั้งอาหารคาวและหวาน เช่น
แกงเขียวหวาน แกงฮังเล แกงเผ็ด ส้มตํา ลอดช่องสิงคโปร์ ขนมไทย และอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งอาหาร
บางส่ วนต้องใช้กะทิเส้นมะละกอ และในการเตรียมสิ่งต่างๆ เหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลาในการทํานาน
จากปัญหาดังกล่าวทางคณะผู้จัดทําจึงคิดประดิษฐ์ เครื่องปั่นอัจฉริยะ 7 in 1 ขึ้นเพื่อลดระยะเวลาใน
การจัดเตรียมวัตถุดิบในการทําอาหารอีกทั้งยังเป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีให้กับผู้ร่วมงานได้แล้วยัง
สามารถนํา เครื่องปั่นอัจฉริยะ 7 in 1 ไปใช้ในการประกอบอาชีพในการสร้างรายได้ให้กับครอบครัวอีกด้วย
สรุป
เพื่อช่วยลดระยะเวลาในการจัดเตรียมวัตถุดิบในการทําอาหาร
สามารถนําไปใช้ในการประกอบอาชีพในการสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและสามมารถให้คนในครอบครัวซึ่งอายุยังน้อยแล้วอยากจะช่วยงานครอบครัวนั้นก็สามารถทำได้เช่นกันมีประโยชน์อย่างมากในการประกอบอาชีพ ขายอาหารหรือประกอบอาชีพชาวไร่ชาวนา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)